การวิเคราะห์จริต 6 จากมุมมองตะวันตก

คนเราเกิดมา ไม่ว่าจะอยู่ในอาชีพใด สถานะไหนในสังคม เงื่อนไขของการประสบความสำเร็จในด้านการงาน การเงิน และการมีชีวิตอย่างเป็นสุข ก็คือ "การรู้เท่าทันตนเองและเท่าทันผู้อื่น"

รู้เท่าทันตนเอง เพื่อนำจุดแข็งหรือสิ่งดี ๆ ในตนเองมาเป็นพลังบุกเบิก ทำกิจการต่าง ๆ ให้สำเร็จลุล่วงไปตามที่เราตั้งความปรารถนาเอาไว้ และเพื่อที่จะสามารถแก้ไขจุดอ่อนของตนเองได้ทันก่อนที่จุดนั้นจะนำภัยมาให้

รู้เท่าทันคนอื่น เพื่อที่จะสามารถบริหารความสัมพันธ์ระหว่างเรากับครอบครัว สามี ภรรยา ผู้บังคับบัญชา ลูกน้อง เพื่อนร่วมงาน หรือแม้กระทั่งคนแปลกหน้า เพื่อไม่ให้ต้องเกิดปัญหาทะเลาะเบาะแว้ง

การรู้จักประเภทจริตของมนุษย์ เป็นเครื่องมือที่จะช่วยทำให้เราเข้าใจตนเอง และเข้าใจคนอื่นได้อย่างถ่องแท้ Carol S. Pearson นักจิตวิทยาชื่อดังชาวอเมริกัน แบ่งจริตคนเป็น 6 ประเภท ซึ่งหากถ้าเราได้เข้าใจ จริตมนุษย์ทั้ง 6 ประเภทนี้ ไม่เพียงจะทำให้เรารู้จักระบบวิธีคิด แนวโน้มพฤติกรรมซ้ำ ๆ ของตนเอง และของคนอื่น แต่ยังจะทำให้เราสามารถรู้จุดอ่อนจุดแข็ง และแก้ไขข้อผิดพลาดของตนเองได้ด้วย ในขณะที่จริต 6 แบบพุทธประกอบด้วย

โทสจริต โมหะจริต ตรรกจริต ศรัทธาจริต ราคะจริต พุทธิจริต

จริต 6 ของ Pearson มีองค์ประกอบคือ

เด็กกำพร้า หรือ Orphan

นักเดินทาง หรือ wanderer

นักรบ หรือ warrior

ผู้เสียสละ หรือ altruist

เด็กไร้เดียงสา หรือ innocent

นักมายากล หรือ magician

ซึ่งแต่ละจริตก็มีจุดอ่อน จุดแข็งต่างกันไป

จริตเด็กกำพร้า

คนที่มีจริตแบบนี้ คือคนที่รู้สึกว่าตนเองอ่อนแอขาดที่พึ่ง ไม่มีอะไรดีในตนเอง ต้องการความช่วยเหลือจากคนอื่นอยู่ตลอด อาจเกิดจากการที่ไม่ได้รับความอบอุ่นในวัยเด็ก ถูกรังแกหรือไม่ได้รับการเอาใจใส่จากบิดามารดา ถูกทำให้ผิดหวัง ถูกปลดออกจากงาน ถูกไล่ออกจากโรงเรียน จนทำให้ขาดความมั่นใจในตนเอง

ข้อเด่น คือ เป็นคนที่มีความอดทน

จุดอ่อน คือ การชอบโทษคนอื่นหรืออดีตที่เกิดขึ้นกับตนเอง ว่าเป็นสาเหตุของความผิดพลาดใน

ชีวิตอย่างเช่น เรียนหนังสือไม่ดี เพราะพ่อแม่ไม่รัก หรือสามีที่ตบตีภรรยาแล้วบอกว่าได้รับอิทธิพลจากพ่อแม่ ซึ่งทำร้ายร่างกายตนในวัยเด็ก

จริตนักเดินทาง

ธรรมชาติของนักเดินทางคือ การรักอิสระเสรีภาพ ไม่ชอบอยู่เฉย ๆ ขี้เบื่อ จะต้องหาอะไรแปลกใหม่ในชีวิตให้ทดลองอยู่ตลอดเวลา ถ้าทำอะไรนาน ๆ จะรู้สึกว่าถูกคุมขัง ไม่ชอบระเบียบวินัย ไม่ชอบทำอะไรเหมือน ๆ คนอื่น

จุดแข็ง คือ เป็นคนที่มีความคิดสร้างสรรค์

จุดอ่อน คือ เป็นคนทำอะไรจับจด ไม่เป็นชิ้นเป็นอัน

จริตนักรบ

ได้แก่คนที่มีความสุขกับการเป็นหนึ่ง การประสบความสำเร็จและการได้ชัยชนะเหนือคนอื่น ทำอะไรก็ต้องทำให้ได้ดีที่สุด

ข้อดี คือ เป็นคนหยิ่งในเกียรติ มีความสุขกับการทำงาน จะต่อสู้ตอบได้ทันทีถ้ามีใครมารังแก หรือเอารัดเอาเปรียบ สามารถปกป้องตนเองและครอบครัวจากภยันอันตรายทั้งปวง

ข้อเสีย คือ จะเป็นคน self-contered ถึงจะเก่งกล้าสามารถอย่างไร ก็คิดถึงแต่ตัวเอง ไม่มีเวลาทำอะไรให้คนอื่น หมกมุ่นอยู่แต่กับเรื่องงาน และผลประโยชน์ด้านเงินทอง

จริตผู้เสียสละ

คือคนที่มีความสุขกับการทำอะไรให้คนอื่น ทำเพื่ออุดมการณ์เพื่อสังคม ไม่สนใจความก้าวหน้าด้านการงาน ชื่อเสียงเงินทอง หรือผลสำเร็จส่วนตัว ต้องการจะช่วยคนอื่นอยู่ตลอดเวลา

จุดแข็ง คือ เป็นคนมีจิตใจดีงาม

จุดอ่อน คือ มักจะเป็นคนที่ไม่รู้จักตนเอง ปฏิเสธความต้องการของตนเอง และอาจจะเกิดอาการเกลียดโลก เกลียดสังคมในที่สุดเมื่อพบว่าทุ่มเทกำลังกายใจให้แล้ว แต่โลกและสังคมไม่เป็นไปตามที่คิด

จริตเด็กไร้เดียงสา

เด็ก ๆ จะเชื่อว่า ไม่ว่าจะทำอะไร มีปัญหาที่ไหน ในที่สุดพ่อแม่ก็จะคอยมาปกป้องเรา คนที่มีจริตไร้เดียงสามักจะเชื่อว่า ไม่ว่าอะไรจะเกิดขึ้นก็จะมีพลังศักดิ์สิทธิ์คอยปกป้องคุ้มครองอยู่ตลอดเวลาถ้าเราทำตัวเป็นคนดี

จุดแข็ง คือ เวลามีอุปสรรคต่าง ๆ นานาชีวิต จะฝ่าฟันไปได้ เพราะเชื่อว่าทำดี ได้ดี มี positive thinkingอยู่ตลอดเวลา เชื่อว่าเราเป็นคนเลือกสิ่งที่เกิดขึ้นกับตนเอง ถ้าเราเลือกจะมีความสุข เราก็จะสุข ถ้าเราเลือกจะทุกข์ เราก็จะเป็นทุกข์

จุดอ่อน คือ มองโลกแบบสีขาว ไม่ตรงตามความเป็นจริง ทำให้มักจะมองคนผิด ประเมินสถานการณ์ผิดอยู่ตลอด

จริตนักมายากล

ธรรมชาติของนักมายากลคือมักจะทำสิ่งที่ไม่น่าจะเป็นไปได้ให้เกิดขึ้น คนจริตแบบนักมายากลมักจะเป็นคนชอบแก้ปัญหา และแก้ไขสิ่งผิดให้ถูกต้อง

ข้อดี คือ เป็นคนมองโลกกลาง ๆ ไม่ดำ ไม่ขาว มีทั้งดี ไม่ดี เป็นคนมีจุดยืน และถ้าทำได้ก็พร้อมที่จะปกป้องจุดยืนของตนเอง รวมทั้งเป็นคนที่เห็นข้อดี ข้อเสีย ของตนเองอย่างครบถ้วน

ข้อเสีย คือ เป็นคนที่ไม่เห็นอกเห็นใจคนอื่น ยอมรับข้อผิดพลาด ของคนอื่นไม่ได้ เพราะตนเองเกิดมามีปัญญาสูง คิดได้ ทำได้ มาโดยตลอด ทำให้ไม่เข้าใจว่าทำไมคนอื่นจึงคิดพลาด ทำพลาด

การใช้ประโยชน์จากความรู้เรื่องจริต 6

คนส่วนใหญ่มีจริตแบบใดก็มักจะเป็นแบบนั้นตลอด แต่ Pearson เห็นว่า เมื่อเรารู้จักชนิดของจริตแล้ว เราสามารถเลือกรับจริตต่าง ๆ มาใช้ ในสถานการณ์ที่ต่างกันได้ อย่างเช่นในยามตกงาน เราต้องหาทางเปลี่ยนจริตจากเด็กกำพร้ามาคิดแบบจริตนักรบ หรือคนที่มีจริตนักรบ ก็ต้องรู้ตัวว่าสถานการณ์บางอย่าง ไม่ได้ต้องการการต่อสู้ดิ้นรน แต่ต้องการการให้ความร่วมมือ เช่นเมื่อจริตนักรบต้องไปทำงานเป็นทีมร่วมกับคนอื่น ก็จะต้องหันไปรับจริตแบบผู้เสียสละบ้าง นอกจากนี้ ในแต่ละช่วงชีวิต เราต้องปรับจริตไม่เหมือนกัน เช่น

ในวัยเด็ก ควรมีจริตแบบเด็กกำพร้า ซึ่งยอมโอนอ่อนผ่อนตามผู้ใหญ่ เพราะเรายังขาดประสบการณ์ในชีวิตและยังพึ่งตนเองทางการเงินไม่ได้

ในวัยหนุ่มสาว เราต้องการจริตแบบนักเดินทาง จะได้คิดแสวงหาว่าเราอยากเป็นอะไร ต้องการอะไรในชีวิต ในวัยนี้ เรายังต้องการจริตแบบนักรบด้วย เพื่อจะได้ต่อสู้ฝ่าฟันอุปสรรคในด้านเรียนและการงาน

เมื่อถึงวัยกลางคน บรรลุความสำเร็จทางโลกแห่งวัตถุแล้ว เราก็ควรจะหันมาใส่ใจเรื่องจิตวิญญาณ และหัดทำอะไรเพื่อคนอื่น และเพื่อสังคมบ้าง ก็คือจริตแบบผู้เสียสละและนักมายากลสิ่งที่ต้องแก้ไข

เด็กกำพร้า มี low -esteem ต้องหัดทิ้งอดีต และบอกตนเองว่า เราไม่ใช่เด็กแล้วเป็นผู้ใหญ่มีความรับผิดชอบ หมดเวลาที่จะโทษพ่อแม่ สภาพแวดล้อม เพราะเราคือมนุษย์ที่สามารถเปลี่ยนแปลงตนเองได้ นอกจากนี้ ต้องหัดพัฒนา self-esteem ของตนเองขึ้นมาให้ได้

นักเดินทาง ต้องแก้ไขเรื่องไม่ค่อยมีความรับผิดชอบต่อครอบครัว สนใจแต่ตนเอง

นักรบ ต้องแก้ไขเรื่องการขาดความใส่ใจต่อผู้คนรอบข้าง และครอบครัว หรือที่เรียกว่าอยู่ในข่าย แล้งน้ำใจผู้เสียสละ ต้องฟังเสียงภายในของตนเอง และหัดรู้จักตนเองให้มากขึ้น เด็กไร้เดียงสาต้องหัดแก้ปัญหาต่าง ๆ ด้วยปัญญาของตนเอง แทนที่จะใช้ศรัทธาอย่างเดียว

นักมายากล ต้องหัดเห็นอกเห็นใจคนอื่นให้มาก ๆ

Three Key Survival Skills for New Business Owners

The first year of a new business is the toughest. It's the make-it-or-break-it year. The challenges a new business owner faces on a daily basis require three key survival skills: self-reliance, self-direction, and resilience. No matter how brilliant the business idea, without these three skills entrepreneurs risk failure.
  • Self-Reliance

It's a fact of life that every small business owner wears many hats to fill all functions: operations, sales, marketing, finance, human resources-even janitor and chief coffee-maker when needed. Unlike life in corporate America, where each employee has a specialized area of expertise, a new business owner must excel in all of the disciplines required to keep a small business running smoothly. The revenue drain of hiring employees can spell disaster for struggling new businesses.

Self-reliance means more than wearing many hats. It also means depending on self for motivation, discipline and decision making and accountability. The true entrepreneur doesn't need a cheering squad to keep going. The self-reliant business owner is highly skilled at "picking himself up by the boot straps." Without that all-important sense of self-reliance, critical decisions will be delayed and opportunities will be missed.

If you find yourself lacking self-reliance, do a total skills inventory to identify the gap that is holding your business back from prospering to your expectations. Rate yourself on a scale of one to four on each skill needed to run your business. Identifying which skills you are deficient in is the first step toward getting help to solve the problem.

  • Self-Direction

One of the toughest challenges for new business owners is strategic planning: the ability to plan for multiple contingencies to reduce risk of failure. The self-directed entrepreneur analyzes market conditions to anticipate setbacks and defines alternative revenue sources to avoid costly earnings slumps.

Equally important, the self-directed business owner should be efficient in executing daily, weekly and monthly activities crucial to maintaining a continual sales pipeline and revenue stream. A successful entrepreneur needs no supervisor to keep him on track.

Unfortunately, not many people excel at both strategic planning and day-to-day tactical efforts. If you are an entrepreneur who gravitates to "the big picture," daily and weekly task lists will help keep you on track toward your revenue goals. Invest in tools to minimize your busy work so that important data like customer contact information can be easily accessed, yet maintained with minimal effort.

On the flip side, highly detail-oriented business owners without a strategic plan suffer from lack of direction. Make time at least quarterly to consider questions like: "What could I do long-term to improve the efficiency of my operations?" or "What could I be doing differently to attract the kind of customers I prefer?"

  • Resiliency

While it is often true that persistence pays off, resiliency is a more essential skill to new business owners. Resiliency is the ability to change direction when needed. It is the 'bounce back" effect that is truly necessary to avoid business failure.

In business, change is constant:

* Economic conditions can reduce consumer spending

* Shifts in consumer tastes make your product out-of-date

* Improvements in technology make your inventory obsolete

Any or all of these things can mean increased competition and loss of market share for your business. You have to be prepared to deal with them--before they happen.

Those who lack resiliency fall victim to self doubt that all too often means the end of a promising new business. To increase resiliency, practice the old-fashioned skill of "getting back on the horse." When things don't work out as planned, do not stop to anguish over the situation. Immediately consider the best alternative actions to take. Take action as soon as possible. Even a less-than-perfect action plan will get you moving in a positive direction and avoid the stall of self doubt and despair.

A new business owner who builds up his or her self-reliance, self-direction and resiliency will greatly increase the odds of surviving that first year in business. And after the first year, your survival skills will ensure that you are well on your way to many more years of success. credit by Deborah Walker