ขงจื้อกับศาสตร์การพัฒนาใจตนเองและชนะใจผู้อื่น

บทความที่นำเสนอสรุปประเด็นจากหนังสือเรื่อง The Essential Confucius แต่งโดย Thomas Cleary ว่าด้วยเรื่องคำสอนของปรมาจารย์ขงจื๊อเกี่ยวกับคุณธรรมที่ควรปลูกฝังไว้ในจิตใจมนุษย์

มีประเด็นสำคัญ ดังต่อไปนี้

1. ความรักและเคารพเพื่อนมนุษย์ด้วยกัน

ความรักและเคารพต่อเพื่อนมนุษย์ด้วยกันในมุมมองของขงจื๊อคือ การเคารพและให้เกียรติมนุษย์ทุกคนอย่างเท่าเทียมกัน โดยไม่มีการเลือกปฏิบัติ นอกจากนั้น ผู้ที่ได้ชื่อว่ามีคุณธรรมจะต้องมีความยุติธรรม ตรงไปตรงมา และมีมารยาทสังคม รู้จักผิดชอบชั่วดี ไม่มีการเล่นเส้นเล่นสาย ตัดสินทุกอย่างบนพื้นฐานของความถูกต้อง และคำนึงถึงผลประโยชน์ของประเทศชาติเป็นสำคัญ อย่างไรก็ตาม คุณธรรมความดีดังกล่าวจะไม่ช่วยสร้างประโยชน์อันใดมากนักหากผู้ที่มีคุณธรรมไร้ซึ่งความรู้ความสามารถและความใฝ่ใจในการศึกษาหาความรู้เพิ่มเติม ในมุมมองของขงจื๊อ คุณธรรมความดีและความรู้ความสามารถเป็นสิ่งที่ต้องมีควบคู่กันไป

2. คุณธรรมเพื่อยกระดับคุณภาพจิตใจ

1. จงอย่ากังวลว่าคนอื่นจะไม่รู้จักเรา แต่ให้กังวลว่า ตัวเรามีคุณค่าเพียงพอแล้วหรือยังที่จะให้คนอื่นรู้จัก

2. คนที่มีความละโมบ และกระสับกระส่ายอยู่ตลอดเวลา ยากที่จะมีความสงบและความมั่นคงในจิตใจ

ความกังวลสับสนและความเคร่งเครียด จะทำให้จิตใจขุ่นมัวไม่สามารถขบคิดแก้ไขปัญหาได้ และส่งผลให้กิริยาที่แสดงออกมามีแต่ความเกรี้ยวกราดและรุนแรง ทำให้ลูกน้องหมดศรัทธา และไม่อยากจะร่วมงานด้วย ดังนั้น ขงจื๊อจึงสอนว่า เราควรประคับประคองจิตใจให้มีความสงบและสบาย เมื่อใจสบาย กิริยาและคำพูดที่แสดงออกมาก็จะน่าฟัง และน่าเชื่อถือ

3. คนที่ไม่รู้จักวางแผนระยะยาว จะรู้สึกอึดอัดและกังวลต่อสิ่งที่กำลังทำอยู่เสมอ

การตั้งใจทำงานอย่างเต็มที่โดยไม่รู้ตัวว่า กำลังทำอะไร ทำไปเพื่ออะไร ผลที่ตามมาคืออะไร และที่สำคัญคือ สิ่งที่เราทำอยู่นี้เป็นสิ่งที่เราต้องการทำจริงหรือ หรือทำไปเพื่ออยู่ไปวันหนึ่ง ๆ การทำงานอย่างไร้เป้าหมายในชีวิต นอกจากจะสร้างความอึดอัดและเคร่งเครียดแล้ว ยังจะเป็นการเสียเวลาโดยเปล่าประโยชน์ ดังนั้น เราควรสร้างมโนภาพเกี่ยวกับแผนที่ชีวิตของตนเองเสียตั้งแต่ต้น

4. คนที่หมั่นศึกษาหาความรู้โดยการท่องตำราแต่เพียงอย่างเดียว โดยไม่นำความรู้ไปทบทวนหรือนำไปปฏิบัติเปรียบได้กับเต่าแบกคัมภีร์หรือตาบอดคลำทางในขณะเดียวกัน คนที่ชอบแสดงความคิดเห็นอยู่ตลอดเวลาโดยไม่สนใจข้อเท็จจริงใด ๆ เปรียบได้กับคนตาเป็นต้อ

ฉะนั้น สิ่งที่ดีที่สุดคือ การหมั่นศึกษา หาความรู้และนำความรู้เหล่านั้นมาทบทวนพิจารณา และนำมาปรับประยุกต์ใช้กับชีวิตประจำวัน

5. คนที่มีคุณธรรมจะไม่พูดจาเกินจากสิ่งที่ตนเองทำได้ เพราะคนที่มีคุณธรรมจะต้องมีปากกับใจตรงกัน

6. แม้ว่าคุณจะเป็นคนดีมีความสามารถปานใด ความอวดดีหรือความตระหนี่ถี่เหนียว จะทำให้คุณเป็นคนที่ไม่มีใครต้องการคบหาสมาคมด้วย

7. จงอย่าสนใจว่าคนอื่นจะมีชื่อเสียงและเกียรติยศมากน้อยเพียงใด แต่ให้สนใจว่าตัวเราเองยังขาดคุณสมบัติในด้านใดบ้างที่ยังต้องปรับปรุงแก้ไข

8. จงอย่ากังวลว่าทำไมผู้อื่นจึงไม่เข้าใจเรา แต่ให้กังวลว่าทำไมเราจึงไม่เข้าใจผู้อื่น

9. การก้มหน้ายอมรับชะตากรรมว่าเราเกิดมายากจน เป็นสิ่งที่ทำได้ง่ายกว่าการถ่อมตัวและฝืนใจที่จะไม่โอ้อวดความร่ำรวยของตนเอง

ธรรมชาติของมนุษย์เมื่อมีความร่ำรวยหรือมีสิ่งที่เหนือกว่าผู้อื่น มักชอบโอ้อวดและประกาศศักดาของตัวเอง พฤติกรรมเช่นนี้ย่อมเป็นการนำภัยมาสู่ตนเองโดยไม่รู้ตัว ขงจื๊อจึงสอนว่า เมื่อร่ำรวยแล้วไม่ควรอวดตัว แต่ให้มีความสำรวม สมถะ และมีความพอเพียง

10. สิ่งที่สำคัญที่สุดของความเป็นมนุษย์คือ ความซื่อตรงและซื่อสัตย์ต่อผู้อื่น

11. จงอย่าสุงสิงกับคนที่มีคุณภาพจิตต่ำกว่าเรา และจงอย่าลังเลที่จะแก้ไขข้อผิดพลาดของตนเอง

เพราะความคิด คำพูด และการกระทำของอีกฝ่ายย่อมกระทบกระเทือนจิตใจเราอย่างที่หลีกเลี่ยงเสียไม่ได้

12. จงอย่าใส่ใจกับเรื่องความรวดเร็วและอย่าสนใจกับเรื่องเล็ก ๆ น้อย

เพราะยิ่งสนใจเรื่องความรวดเร็วเท่าไร เรายิ่งห่างไกลจากความเป็นจริง และถ้าเราสนใจเรื่องเล็กน้อย จะทำให้ทำการใหญ่ยาก เพราะคนที่มีจิตใจจะคับแคบ ย่อมไม่สามารถดึงดูดผู้คนมาช่วยเหลือให้การสนับสนุนได้

1. มันเป็นการป่วยการที่จะทำงานเช้าจรดเย็น จนสุขภาพร่างกายทรุดโทรม ควรแบ่งเวลาไปใฝ่หาความรู้เพื่อพัฒนาจิตและคุณภาพชีวิตจะดีกว่า

2. ผู้ที่ต้องการยกระดับคุณภาพจิตใจพึงตระหนักถึงระเบียบวินัย 3 ประการ ดังนี้

1. ช่วงวัยรุ่น เป็นช่วงที่มีวินัยในเรื่องกามคุณ ไม่ควรหมกมุ่นในเรื่องกามารมณ์ แต่ควรทุ่มเทแรงกายแรงใจเพื่อวางรากฐานชีวิตโดยการใฝ่หาความรู้จะดีกว่า

2. ช่วงวัยกลางคน ให้ระมัดระวังเรื่องการทะเลาะกับผู้อื่น

3. วัยชรา ให้รู้จักคำว่า พอ

1. ผู้ที่ยิ่งใหญ่ทุกคนจะต้องมีช่วงที่ประสบปัญหาในชีวิตบ้าง แต่พวกที่จิตใจคับแคบเท่านั้น จึงจะขาดสติและเสียศูนย์เมื่อประสบกับปัญหาดังกล่าว

2. การบริหารคนและการเข้าสังคม

1. จงเป็นผู้ฟังที่ดี และให้ฟังหูไว้หู จงอย่าตัดสินคนจากคำพูด แต่ให้พิจารณาจากการกระทำว่า มันสอดคล้องกับสิ่งที่เขาพูดหรือไม่ และที่สำคัญคือ สิ่งที่เขาพูดนั้น พูดไปเพื่อจุดประสงค์อะไร มีอะไรแอบแฝงอยู่หรือไม่

2. หากจะมอบหมายงาน ให้สร้างมโนภาพว่าเราเป็นแม่งาน และให้มอบหมายงานตามความถนัดของแต่

ละคน

3. คนที่อยากให้คนเคารพ แต่ไม่รู้จักการวางตัว ดูแล้วน่าเบื่อ

คนที่ระมัดระวังตลอดเวลา พูดจาโผงผาง ดูแล้วน่ากลัว

คนที่กล้าหาญ โดยไม่สนใจเรื่องกิริยามารยาท ดูแล้วป่าเถื่อน

คนที่ตรงไปตรงมา ขวานผ่าซากโดยไม่สนใจคนรอบข้าง เหมือนกับการแขวนคอตัวเอง

ฉะนั้น เราจึงควรทำตัวให้ถูกต้องตามกาละเทศะ

4. คนที่มีคุณธรรมมักจะมีอะไรพูดอยู่เสมอ แต่คนที่พูดอยู่เสมอไม่จำเป็นต้องมีคุณธรรม

คนที่มีจิตใจเมตตากรุณา ชอบช่วยเหลือเพื่อนมนุษย์จะมีจิตใจกล้าหาญเข้มแข็ง แต่คนที่มีจิตใจกล้าหาญเข้มแข็งไม่จำเป็นว่า เขาจะต้องเป็นคนที่มีจิตใจรักเพื่อนมนุษย์เสมอไป

5. คนที่มีการศึกษาสูงไม่จำเป็นต้องเป็นคนที่มีคุณธรรม และคนที่จิตใจคับแคบยากที่จะมีคุณธรรม

6. หากเราคบคนที่ไม่มีสติสัมปชัญญะรู้เนื้อรู้ตัวอยู่เสมอ เราก็จะกลายเป็นคนก้าวร้าวและมีแต่ความลังเลสงสัยไม่แน่ใจตามไปด้วย

7. ผู้ที่มีคุณธรรมง่ายที่ทำงานด้วย แต่ยากที่จะประจบเอาใจ หากเราพยายามเอาใจอย่างผิดวิธีแล้วล่ะก็ คนที่มีคุณธรรมจะไม่ชอบหน้าเรา เพราะคนเหล่านี้จะใช้คนตามความสามารถ และในทางกลับกัน คนที่มีจิตใจคับแคบยากที่จะทำงานด้วย แต่เอาใจง่ายมาก และแม้ว่าเราจะเอาใจอย่างผิด ๆ เขาก็ยังชอบเรา เพราะคนจำพวกนี้คำนึงถึงผลประโยชน์ของตนเองเป็นสำคัญ

8. คนที่พูดเก่งหน้าตาอวดดียากที่จะมีคุณธรรม

Three Key Survival Skills for New Business Owners

The first year of a new business is the toughest. It's the make-it-or-break-it year. The challenges a new business owner faces on a daily basis require three key survival skills: self-reliance, self-direction, and resilience. No matter how brilliant the business idea, without these three skills entrepreneurs risk failure.
  • Self-Reliance

It's a fact of life that every small business owner wears many hats to fill all functions: operations, sales, marketing, finance, human resources-even janitor and chief coffee-maker when needed. Unlike life in corporate America, where each employee has a specialized area of expertise, a new business owner must excel in all of the disciplines required to keep a small business running smoothly. The revenue drain of hiring employees can spell disaster for struggling new businesses.

Self-reliance means more than wearing many hats. It also means depending on self for motivation, discipline and decision making and accountability. The true entrepreneur doesn't need a cheering squad to keep going. The self-reliant business owner is highly skilled at "picking himself up by the boot straps." Without that all-important sense of self-reliance, critical decisions will be delayed and opportunities will be missed.

If you find yourself lacking self-reliance, do a total skills inventory to identify the gap that is holding your business back from prospering to your expectations. Rate yourself on a scale of one to four on each skill needed to run your business. Identifying which skills you are deficient in is the first step toward getting help to solve the problem.

  • Self-Direction

One of the toughest challenges for new business owners is strategic planning: the ability to plan for multiple contingencies to reduce risk of failure. The self-directed entrepreneur analyzes market conditions to anticipate setbacks and defines alternative revenue sources to avoid costly earnings slumps.

Equally important, the self-directed business owner should be efficient in executing daily, weekly and monthly activities crucial to maintaining a continual sales pipeline and revenue stream. A successful entrepreneur needs no supervisor to keep him on track.

Unfortunately, not many people excel at both strategic planning and day-to-day tactical efforts. If you are an entrepreneur who gravitates to "the big picture," daily and weekly task lists will help keep you on track toward your revenue goals. Invest in tools to minimize your busy work so that important data like customer contact information can be easily accessed, yet maintained with minimal effort.

On the flip side, highly detail-oriented business owners without a strategic plan suffer from lack of direction. Make time at least quarterly to consider questions like: "What could I do long-term to improve the efficiency of my operations?" or "What could I be doing differently to attract the kind of customers I prefer?"

  • Resiliency

While it is often true that persistence pays off, resiliency is a more essential skill to new business owners. Resiliency is the ability to change direction when needed. It is the 'bounce back" effect that is truly necessary to avoid business failure.

In business, change is constant:

* Economic conditions can reduce consumer spending

* Shifts in consumer tastes make your product out-of-date

* Improvements in technology make your inventory obsolete

Any or all of these things can mean increased competition and loss of market share for your business. You have to be prepared to deal with them--before they happen.

Those who lack resiliency fall victim to self doubt that all too often means the end of a promising new business. To increase resiliency, practice the old-fashioned skill of "getting back on the horse." When things don't work out as planned, do not stop to anguish over the situation. Immediately consider the best alternative actions to take. Take action as soon as possible. Even a less-than-perfect action plan will get you moving in a positive direction and avoid the stall of self doubt and despair.

A new business owner who builds up his or her self-reliance, self-direction and resiliency will greatly increase the odds of surviving that first year in business. And after the first year, your survival skills will ensure that you are well on your way to many more years of success. credit by Deborah Walker