กุญแจสู่โลกกว้างสำหรับบัณฑิตใหม่

1. การเตรียมตัวก่อนจบ

1. หาตัวเองให้เจอว่าเราต้องการอะไรจากชีวิต อยากมีหรืออยากเป็นอะไร โดยดูจากสิ่งที่เราชอบและสิ่งที่เรามีความถนัด

· สิ่งที่เราชอบต้องมาก่อน และมีความสำคัญกว่าสิ่งที่เราถนัดเป็นพิเศษ เพื่อว่าหากเราประสบปัญหาสิ่งที่กำลังทำอยู่ จะได้ไม่ท้อถอย กัดฟันต่อสู้อุปสรรค เพื่อรักษาสิ่งที่เราหวงแหนไว้

· หากขาด Skills ในสิ่งที่ชอบ จะเติมปัจจัยอะไร เพื่อให้ถึงเป้าหมายดังกล่าว

2. ตัดสินใจว่าจะเรียนต่อ หรือทำงานหาประสบการณ์ก่อน

· ถ้าจะเรียนต่อ สิ่งที่จะเรียนควรสอดคล้องกับ ข้อ1 และต้องคิดละเอียดถี่ถ้วนว่า จะเรียนต่อในหรือต่างประเทศ หากเป็นมหาวิทยาลัยต่างประเทศ ก็น่าจะเป็นมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียง เพื่อให้จบมาหางานได้ง่ายและได้ผลตอบแทนสูง คุ้มกับเงินลงทุนด้านการศึกษา

· ถ้าทำงาน จะทำกี่ปี และเลือกงานที่สอดคล้องกับ ข้อ1 เพื่อไม่เป็นการเสียเวลาแก่ชีวิต คุ้มแก่การลงทุนเพื่อการศึกษา ไม่ควรคิดแต่จะไปเรียนนอกเพื่อเพิ่มคุณสมบัติตัวเองเท่านั้น แต่ควรเข้ามหาวิทยาลัยที่ได้รับการยอมรับ เพื่อเจอสิ่งแวดล้อมที่ดี จะได้สติปัญญาสูงขึ้นจริง และจะพยายามปรับทัศนคติทุกอย่างที่เคยมีมาในรั้วมหาวิทยาลัย ให้เข้ากับสัจจะธรรมใหม่ของชีวิตการทำงาน

3. มีความรู้ความเชี่ยวชาญในเรื่องคอมพิวเตอร์ และภาษาอังกฤษขนาดไหน

· ความพร้อมก่อนเข้าทำงานจริง เพื่อความก้าวหน้าอันรวดเร็ว

· คนไทยที่จะพูดภาษาอังกฤษได้ต้อง

ขั้นที่1 รู้ว่าจะพูดอะไรเป็นภาษาไทยก่อน เพราะเราเป็นคนไทยจึงต้องคิดเป็นภาษาไทย

ขั้นที่2 แปลไทยเป็นอังกฤษโดยฉับพลัน (ไม่ต้องคิด)

ขั้นที่3 ประยุกต์ใช้หลัก grammar ที่ถูกต้องและเกี่ยวข้องในการเรียบเรียงศัพท์ภาษาอังกฤษให้พูด สื่อความรู้เรื่อง และเข้าใจทันที

ทั้งนี้ขั้นตอนที่ 2 และ 3 ต้องเหมือนกับสูตรเลขคณิต คือ 8 ´ 2 = 16 รู้ได้โดยไม่ต้องคิด จึงจะทำบัญชีหรือคณิตศาสตร์ชั้นสูงได้ หากศัพท์ภาษาอังกฤษและ grammar เข้มแข็งแล้ว จิตก็จะ focus ลงเฉพาะเนื้อหา หรือ idea ว่าจะพูดอะไรดี แล้วก็จะพูดได้โดยคล่องเพราะสมาธิไม่แตก ไม่คิด 3 อย่างพร้อมกัน (คือจะพูดอะไรดี ใช้ศัพท์อะไร และใช้ grammar ข้อไหน)

4. มีพลังสติสมาธิ และ Software ทางปัญญามากขนาดไหน

สติ คือ อาการรู้และเลือก รู้ว่ากำลังคิดอะไรอยู่ กำลังรู้สึกอย่างไร (สุขทุกข์ หรือเฉยๆ) และกำลังอยู่ในอิริยาบทใด (นั่ง, เดิน ,ยืน, นอน) เมื่อรู้แล้วก็เลือกเรื่องคิด เลือกอิริยาบท ความรู้สึกที่เราแปรเปลี่ยนจะเป็นตัวสัญญาณบ่งบอกว่า มีสิ่งผิดปกติเกิดขึ้นในจิตใจหรือไม่ หากจิตพอง (สุข) หรือจิตยุบ (ทุกข์) แสดงว่าต้องมีเหตุและปัจจัยเป็นแน่ ที่ทำให้เราเปลี่ยนสภาพจิตจากเฉยๆ เป็นสุขหรือทุกข์ เมื่อทราบดังนั้นแล้ว ก็จะเห็นความจริงตรงตามความเป็นจริง ในทุกโอกาสทุกสถานที่

สมาธิ คือ การเอาใจจดจ่อทำเรื่องใดเรื่องหนึ่ง จนสำเร็จลุล่วงไปด้วยดี ไม่เกิดอาการวอกแวก สมาธิเกิดจากความตั้งใจแน่วแน่ กัดฟัน ใจสู้ทำสิ่งนั้นๆให้ลุล่วงไปด้วยดี คนจะทำการใหญ่ทั้งปวง ทั้งทางโลกและทางธรรม จำต้องมีสมาธิมั่นคง และเข้มแข้ง จึงจะเรียนรู้เร็ว มีความจำดี ไม่เบื่อง่าย มีความอดทน สามารถประยุกต์ความรู้ที่มีอยู่เข้ากับสถานการณ์ได้อย่างถูกต้องและรวดเร็ว

ปัญญา คือ software ทางความคิดทั้งทางโลกและทางธรรม ทางโลกนั้น คนที่ทำงานและจะประสบผลสำเร็จ ต้องมีความเข้าใจเรื่องการบริหารงาน การบริหารคน และการบริหารตนเองอย่างถ่องแท้ ส่วนทางธรรมนั้นเป็นการฝึกรู้จัก ลด-ละ-วาง ใส่ใจในเรื่องที่ควรใส่ใจ รู้จักให้อภัย รู้จักการไม่เอากรอบความคิดของตนยัดเยียดใส่ผู้อื่น พูด-คิด-ทำ ในสิ่งที่เราพึงปรารถนา รู้จักประโยชน์ของสติและสมาธิ เพื่อช่วยในการ function อย่างปกติตามธรรมชาติ การขาดความรู้ทางธรรมชาติจะทำให้เกิดอาการเครียด เป็นโรคกระเพาะ ผมร่วง ความดันโลหิตสูง มีโอกาสเป็นโรคเบาหวานได้ง่าย จึงต้องทำความเข้าใจเรื่องปัญญาทางธรรมอย่างถ่องแท้ในระดับหนึ่งด้วยจึงจะมีความสุขและอยู่ได้

5. การอ่านคนให้ออก (จริต 6)

· ราคะจริต ชอบของละเอียดประณีต คำพูดไพเราะ อาหารอร่อย สิ่งสวยๆงามๆ

· โทสะจริต ปรมาจารย์ด้าน หลักเกณฑ์ หลักการการรักษาระเบียบวินัย โกรธง่าย เจ้าอารมณ์

· โมหะจริต มึนๆ ซึมๆ เศร้าๆ คิดแต่เรื่องอดีต ไม่ค่อยมีความคิดใหม่มากนัก

· วิตรรกจริต ฟุ้งซ่าน จับจด ผลัดวันประกันพรุ่ง พูดตลอดเวลา ไม่ค่อยใช้สมองคิดสิ่งที่เป็นสาระ

· ศรัทธาจริต เชื่อคนง่าย เจ้าอุดมการณ์ ชอบงานสาธารณะ เน้นอารมณ์ร่วมเป็นหลัก

· พุทธจริต มีสติ-สมาธิ และความมีเหตุผลเป็นอันดับหนึ่ง เปิดรับฟังความเห็น ความรู้ใหม่ๆที่มี ประโยชน์และจำเป็น เป็นบุคคลที่ควรคบหาเป็นอย่างยิ่ง

2.ปรัชญาการทำงาน

1 เป็น asset ของนาย นายเห็นว่าเรามีคุณค่า เป็นแขนเป็นขา ช่วยงานต่างๆให้ลุล่วงได้ดีในเวลาที่กำหนด

2. มี Working relationship ที่ดีต่อนาย ไม่ทะเลาะกับนายโดยเด็ดขาด มิฉะนั้น จะหาความสุขมิได้ จะเจริญก้าวหน้าก็ยาก

· เข้าใจนิสัยนาย โดยเฉพาะ Style การทำงาน ที่ชอบให้ brief ด้วยวาจาหรือเขียนรายงาน ชอบให้เขียนสั้นหรือยาว ชอบจ้ำจี้จ้ำไช หรือปล่อยให้เราทำงานโดยอิสระ ฯลฯ

3. มีภาวะความเป็นผู้นำ

· มีความสนใจในงานที่ทำ ทำงานเพื่อความรู้ และความสนุก แทนที่จะทำงานเพื่อกินเงินเดือน

· มีการเสนอความเห็นบนพื้นฐานของข้อเท็จจริง และการสังเกตอย่างละเอียดถี่ถ้วน

· มีทักษะในการสื่อความชัดเจน ความสามารถในการพูดเกิดจากการสะสมข้อมูลต่างๆ โดยการอ่าน จึงจะทำให้มีความรอบรู้ มีเรื่องที่จะพูด และ พูดเป็น พูดถูก พูดให้คนคล้อยตามได้

· มีเป้าหมายการทำงานที่ชัดเจนพร้อมยุทธ์วิธี เพื่อให้ตรงตามเป้าหมายขององค์กร และเพื่อให้เป็นการทำงานอย่างเป็นระบบ

· Positive thinking จำเป็นอย่างยิ่งยวดในการสร้างแรงดลบันดาลใจให้ลูกน้องรักงาน อยากทำงาน ทุกคนต่างอยากเข้าใกล้คนพูดดี คิดดี ทำดีด้วยกันเสมอ และพยายามหลีกเลี้ยงคนพูดร้าย ว่าร้าย มองโลกในแง่ร้ายด้วยกันทั้งสิ้น

4. รู้แก่นของงานว่าอยู่ตรงไหน (Essence)

· Success factors ปัจจัยแห่งความสำเร็จของงานนั้นๆ ได้แก่อะไรบ้าง ทุกปัจจัยทำได้หรือไม่ หรือต้องการความช่วยเหลือจากหน่วยงานหรือองค์กรใด จึงจะประสบความสำเร็จ

· Failure factors ปัจจัยแห่งความล้มเหลว หรืออุปสรรคของงานนั้นๆ ได้แก่ปัจจัยอะไรบ้าง รู้เพื่อป้องกันปัญหา หรืออุปสรรคที่จะเกิดขึ้น ระหว่างการทำงานชิ้นนั้นๆ เป็นการป้องกัน มิใช่การมองโลกในแง่ร้าย

5. ต้องเป็นหนึ่ง

· เรียนรู้งานเร็ว รู้แก่นของงานอยู่ไหน หากสงสัยให้สอบถามหัวหน้า หรือผู้รู้ในเรื่องนั้นๆทันที

· มีความเป็นผู้นำสูง และชัดเจน ได้รับการยอมรับ พูดในสิ่งที่ควรพูด ในเวลาที่เหมาะสม

· ไม่สะทกสะท้านต่ออุปสรรคทั้งปวง เพราะมองปัญหาอุปสรรค เป็นสิ่งควบคู่กับความเป็นมนุษย์

· เราทำได้ ถ้าตัวเราเชื่อว่าเราทำได้

3.ปรัชญาชีวิต

1. ชีวิตไม่ใช่ของง่าย (Life is difficult) ปัญหาและอุปสรรคเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ แต่เราสามารถแก้ไขหรือ บรรเทาได้ ดังนั้น ความสำเร็จจึงอยู่ที่การวางเป้าหมาย วางแผนอย่างเป็นระบบ และการลงมือทำในสิ่งที่ตั้งไว้ให้สำเร็จ

2. ต้องรู้เนื้อรู้ตัวอยู่เสมอว่า ทำอะไรอยู่ ทำไปทำไม พูดอะไรอยู่ พูดไปทำไม ทำไปแล้วมีประโยชน์อะไร พูดไปแล้วมีประโยชน์ไหม เพื่อเป็นการเตือนสติ ให้วางตัวได้อย่างถูกต้อง ให้คนเคารพ และเพื่อให้จิตใจสู่สภาวะความเป็นปกติอยู่เสมอ เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์แบบ

3. มีเกียรติภูมิของความเป็นมนุษย์ (Self – esteem)

· มีวาจาเป็นสัตย์ พูดคำไหนคำนั้น เพื่อให้คนเกรงใจเคารพนับถือและศรัทธา ซึ่งจำเป็นเพื่อเป็นการสร้างบารมีของความเป็น หัวหน้า

· ไม่เบียดเบียนผู้อื่น เพื่อไม่สร้างทุกข์ร้อนและกรรมเวรใส่ตัว จิตใจจะผ่องใสเห็นความจริง ตรงตามความเป็นจริง

· มีการให้ทานเป็นปกติของอารมณ์ ให้โดยไม่รู้สึกตัวว่า เราเป็นคนให้ ให้โดยไม่เลือกปฏิบัติ แต่ดูตามความเหมาะสม ให้แล้วหันหลัง เพื่อมหาอานิสงส์ของการให้อย่างแท้จริง

· ทำงานสิ่งที่เราชอบ สิ่งที่เราถนัด จนบรรลุความมุ่งมั่นที่เราปรารถนาไว้

· เราจะเป็นผู้เลือกและกำหนดชีวิตของเราอย่างเต็มภาคภูมิ เราจะไม่โทษผู้อื่นสำหรับสิ่งต่างๆ ที่ไม่ดีและเกิดขึ้นกับเรา แต่เราจะยืนหยัดและมั่นคงดั่งขุนเขา ที่สูงตระหง่านและไม่สะทกสะท้านต่อสิ่งที่แปรปรวนทั้งปวง

Three Key Survival Skills for New Business Owners

The first year of a new business is the toughest. It's the make-it-or-break-it year. The challenges a new business owner faces on a daily basis require three key survival skills: self-reliance, self-direction, and resilience. No matter how brilliant the business idea, without these three skills entrepreneurs risk failure.
  • Self-Reliance

It's a fact of life that every small business owner wears many hats to fill all functions: operations, sales, marketing, finance, human resources-even janitor and chief coffee-maker when needed. Unlike life in corporate America, where each employee has a specialized area of expertise, a new business owner must excel in all of the disciplines required to keep a small business running smoothly. The revenue drain of hiring employees can spell disaster for struggling new businesses.

Self-reliance means more than wearing many hats. It also means depending on self for motivation, discipline and decision making and accountability. The true entrepreneur doesn't need a cheering squad to keep going. The self-reliant business owner is highly skilled at "picking himself up by the boot straps." Without that all-important sense of self-reliance, critical decisions will be delayed and opportunities will be missed.

If you find yourself lacking self-reliance, do a total skills inventory to identify the gap that is holding your business back from prospering to your expectations. Rate yourself on a scale of one to four on each skill needed to run your business. Identifying which skills you are deficient in is the first step toward getting help to solve the problem.

  • Self-Direction

One of the toughest challenges for new business owners is strategic planning: the ability to plan for multiple contingencies to reduce risk of failure. The self-directed entrepreneur analyzes market conditions to anticipate setbacks and defines alternative revenue sources to avoid costly earnings slumps.

Equally important, the self-directed business owner should be efficient in executing daily, weekly and monthly activities crucial to maintaining a continual sales pipeline and revenue stream. A successful entrepreneur needs no supervisor to keep him on track.

Unfortunately, not many people excel at both strategic planning and day-to-day tactical efforts. If you are an entrepreneur who gravitates to "the big picture," daily and weekly task lists will help keep you on track toward your revenue goals. Invest in tools to minimize your busy work so that important data like customer contact information can be easily accessed, yet maintained with minimal effort.

On the flip side, highly detail-oriented business owners without a strategic plan suffer from lack of direction. Make time at least quarterly to consider questions like: "What could I do long-term to improve the efficiency of my operations?" or "What could I be doing differently to attract the kind of customers I prefer?"

  • Resiliency

While it is often true that persistence pays off, resiliency is a more essential skill to new business owners. Resiliency is the ability to change direction when needed. It is the 'bounce back" effect that is truly necessary to avoid business failure.

In business, change is constant:

* Economic conditions can reduce consumer spending

* Shifts in consumer tastes make your product out-of-date

* Improvements in technology make your inventory obsolete

Any or all of these things can mean increased competition and loss of market share for your business. You have to be prepared to deal with them--before they happen.

Those who lack resiliency fall victim to self doubt that all too often means the end of a promising new business. To increase resiliency, practice the old-fashioned skill of "getting back on the horse." When things don't work out as planned, do not stop to anguish over the situation. Immediately consider the best alternative actions to take. Take action as soon as possible. Even a less-than-perfect action plan will get you moving in a positive direction and avoid the stall of self doubt and despair.

A new business owner who builds up his or her self-reliance, self-direction and resiliency will greatly increase the odds of surviving that first year in business. And after the first year, your survival skills will ensure that you are well on your way to many more years of success. credit by Deborah Walker